คำนำ
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ด้านกราฟิกขั้นสูงเป็นสิ่งคัญในการเลือกศื้อคอมพิวเตอร์ใรระกดับผู้ใช้งานด้านนี้เป็นอย่างมากเพราะต้องมีความทนทานทันสมัยรวดเร็วอยู่เสมอดิฉันจึงจัดทำคู่มือด้สนกราฟิกขึ้นสูงขึ้นมา
ระดับผู้ใช้งานด้านกราฟิกขั้นสูง
ระดับผู้ใช้งานด้านกราฟิกขั้นสูง (advanced graphic user) ซึ่งต้องแสดงผลงานในรูปแบบสามมิติ หรือ 3D animation ผู้ใช้ระดับนี้จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงมากในระดับการคำนวณระดับสูง เช่น การสร้างภาพในรูปแบบสามมิติ โดยใช้โปรแกรม Auto CAD, 3D Studio Max และ Maya เป็นต้น จึงควรจะเลือกประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้เองเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
ลักษณะการซื้อซีพียู
การ เลือกซื้อซีพียูต้องพิจารณาเรื่องความเร็ว ความเร็วขั้นต่ำแปรเปลี่ยนไปตามเวลา โดยปกติจะดูว่าซื้อเพื่ออะไร เช่นถ้าซื้อใช้งานเป็นเพียงอินเทอร์เน็ตบราวเซอร์ในห้องเรียนให้นิสิตใช้ เพื่อเป็นการเรียกเข้าสู่อินเทอร์เน็ต สามารถใช้ซีพียูรุ่นต่ำที่มีขายในปัจจุบันราคาซีพียูในระดับต่ำนี้ การตัดสินใจจะเลือกซื้ออะไรมาใช้ คงต้องลองศึกษาจากหลายๆ องค์ประกอบ โดยเฉพาะการมองหารายละเอียด ข้อดี ข้อเสีย รวมทั้งงบประมาณการลงทุนต่างๆ ที่มีอยู่ด้วย เทคนิคที่เกี่ยวกับซีพียูทั้งสองด้านนี้ สามารถหาได้ได้จากเว็บไซต์ของบริษัท คือwww.amd.com และ www.intel.com ผู้สนใจลองทำการศึกษาอย่างน้อยเป็นความรู้ที่จะมีประโยชน์ต่อไป
อันดับแรก ที่เราควรให้ความสำคัญ ในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจำมาประกอบเอง หรือซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเซตก็ตาม คือการเลือกซีพียูนั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นรุ่นและความเร็วของซีพียูตามระดับการใช้งานของเรา เพื่อเราจะได้ทราบรูปแบบอินเทอร์เฟส (Socket) สำหรับติดตั้งบนเมนบอร์ด เพื่อเลือกซื้อเมนบอร์ดที่ตรงกับรุ่นของซีพียูต่อไปการเลือกซื้อซีพียู
การเลือกซื้อ ซีพียู(CPU)
สำหรับการเลือกซื้อ ซีพียู ซึ่งเป็นที่ที่สำคัญที่สุดซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเป็นสิ่งแรกที่ต้องคำนึงถึงเพราะซีพียูเป็นตัวที่จะกำหนดอุปกรณ์อื่นๆด้วย และเป็นเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับคอมพิวเตอร์ การที่เครื่องเราจะแรงและเร็วแล้ว ซีพียูเป็นตัวกำหนดหลักแทบทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นผมจึงขอให้กำหนด สเป็กการซื้อคอมพิวเตอร์ จากตัวซีพียูก่อนะครับ จะขอเรียงลำคับการพิจารณาการเลือกซื้อดั้งต่อไปนี้
1.ความเร็วของ ซีพียู
ความเร็วของซีพียู ซึ่งใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวกำหนดนะครับ โดยมีหน่วยเป็น “เฮิรตซ์ (Hz)” ก็คือการที่ซีพียูทำงาน 1 ครั้งต่อ 1 วินาทีนั้นเอง แต่ในปัจจุบันซีพียูนั้นมีความเร็วมากอยู่ในระดับ “กิกะเฮิรตซ์ (GHz)” แล้ว เช่น 1 กิกะเฮิรตซ์ คือซีพียูทำงานได้ถึง 1 พันล้านครั้ง ต่อวินาที ยิ่งมีค่าสัญญาณนาฬิกามากเท่าไหร่ก็สามารถทำงานได้รวดเร็วเท่านั้น เช่น AMD Phenom 9650 2.3GHz
2.หน่วยความจำแคช(Cache)
หน่วยความจำแคชก็เป็นหน่วยความจำหนึ่งที่ประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อ เพราะแคชมีหน้าที่ในการจัดเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ได้ใช้บ่อยๆ เพื่อส่งไปยังซีพียู ซึ่งแคชเองทำงานร่วมกับแรมเพื่อเป็นการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่าง 2 อุปกรณ์ ให้เชื่อมต่อกันเพราะฉะนั้นแล้วยิ่งมีแคชมากเท่าไหร่ก็ยิ่งมีความเร็วเท่านั้นด้วย
สำหรับการเลือกซื้อ ซีพียู ซึ่งเป็นที่ที่สำคัญที่สุดซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเป็นสิ่งแรกที่ต้องคำนึงถึงเพราะซีพียูเป็นตัวที่จะกำหนดอุปกรณ์อื่นๆด้วย และเป็นเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับคอมพิวเตอร์ การที่เครื่องเราจะแรงและเร็วแล้ว ซีพียูเป็นตัวกำหนดหลักแทบทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นผมจึงขอให้กำหนด สเป็กการซื้อคอมพิวเตอร์ จากตัวซีพียูก่อนะครับ จะขอเรียงลำคับการพิจารณาการเลือกซื้อดั้งต่อไปนี้
1.ความเร็วของ ซีพียู
ความเร็วของซีพียู ซึ่งใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวกำหนดนะครับ โดยมีหน่วยเป็น “เฮิรตซ์ (Hz)” ก็คือการที่ซีพียูทำงาน 1 ครั้งต่อ 1 วินาทีนั้นเอง แต่ในปัจจุบันซีพียูนั้นมีความเร็วมากอยู่ในระดับ “กิกะเฮิรตซ์ (GHz)” แล้ว เช่น 1 กิกะเฮิรตซ์ คือซีพียูทำงานได้ถึง 1 พันล้านครั้ง ต่อวินาที ยิ่งมีค่าสัญญาณนาฬิกามากเท่าไหร่ก็สามารถทำงานได้รวดเร็วเท่านั้น เช่น AMD Phenom 9650 2.3GHz
2.หน่วยความจำแคช(Cache)
หน่วยความจำแคชก็เป็นหน่วยความจำหนึ่งที่ประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อ เพราะแคชมีหน้าที่ในการจัดเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ได้ใช้บ่อยๆ เพื่อส่งไปยังซีพียู ซึ่งแคชเองทำงานร่วมกับแรมเพื่อเป็นการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่าง 2 อุปกรณ์ ให้เชื่อมต่อกันเพราะฉะนั้นแล้วยิ่งมีแคชมากเท่าไหร่ก็ยิ่งมีความเร็วเท่านั้นด้วย
ในปัจจุบันเองได้มีการเพิ่มเทคโนโลยี Pre-Fetch ในบางรุ่นจะมี ที่มีแคชถึงระดับ L3 ทำหน้าที่ในการคอยอ่านข้อมูลจากแรมมายังแควตลอกเวลา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานได้เร็วยิ่งขึ้น โดยความเร็วทั้ง 3 ระดับดังนี้
แคชระดับที่ 1 (L1) เป็นแคชขนาดเล็ก เป็นแคชที่มีขนาดเล็กที่สุด อยู่แค่ 32-128 KB เท่านั้น และอยู่ใกล้ชิดกับซีพียูมากที่สุด
แคชระดับที่ 2 (L2) จะมีขนาดใหญ่ขึ้นมาเพราะจะทำการเก็บข้อมูลจากแรมเป็นหลัก
แคชระดับที่ 3 (L3) อยู่คั่นกลางระหว่างแรมกับแคช L2 โดยจะมีขนาดใหญ่กว่าเพื่อนซึ่งมีประมาณ 2-8 MB และจะอยู่ใกล้กับบัสเพื่อสามารถที่จะถ่ายโดยข้อมูลไปยังส่วนต่างๆได้ง่ายขึ้น
3.บัส(BUS)
ถือได้ว่ามีความสำคัญเหมือนกัน เพราะ บัสคือ นำไฟฟ้าที่เป็นทางเดินของข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบัสในคอมพิวเตอร์คือบัสข้อมูล (Data bus) ซึ่งมีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz) จะมีค่า FSB อย่างเช่น FSB 1066 เป็นต้น
4.ซีพียู จากค่ายต่างๆ
สำหรับซีพียูนี้ก็มี 2 ค่าย ใหญ่ที่ผลิตออกมาให้เราได้ใช้กันคือ Intel และ AMD
Intel เป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด แล้วยังเป็นผู้ผลิต ซีพียูรายแรกอีกด้วย สำหนับซีพียู ที่ Intel ผลิตนั้นก็มีหลาย รุ่นออกมาให้เลือก และต่างมีเทคโนโลยีที่ต่างกัน
แคชระดับที่ 1 (L1) เป็นแคชขนาดเล็ก เป็นแคชที่มีขนาดเล็กที่สุด อยู่แค่ 32-128 KB เท่านั้น และอยู่ใกล้ชิดกับซีพียูมากที่สุด
แคชระดับที่ 2 (L2) จะมีขนาดใหญ่ขึ้นมาเพราะจะทำการเก็บข้อมูลจากแรมเป็นหลัก
แคชระดับที่ 3 (L3) อยู่คั่นกลางระหว่างแรมกับแคช L2 โดยจะมีขนาดใหญ่กว่าเพื่อนซึ่งมีประมาณ 2-8 MB และจะอยู่ใกล้กับบัสเพื่อสามารถที่จะถ่ายโดยข้อมูลไปยังส่วนต่างๆได้ง่ายขึ้น
3.บัส(BUS)
ถือได้ว่ามีความสำคัญเหมือนกัน เพราะ บัสคือ นำไฟฟ้าที่เป็นทางเดินของข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบัสในคอมพิวเตอร์คือบัสข้อมูล (Data bus) ซึ่งมีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz) จะมีค่า FSB อย่างเช่น FSB 1066 เป็นต้น
4.ซีพียู จากค่ายต่างๆ
สำหรับซีพียูนี้ก็มี 2 ค่าย ใหญ่ที่ผลิตออกมาให้เราได้ใช้กันคือ Intel และ AMD
Intel เป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด แล้วยังเป็นผู้ผลิต ซีพียูรายแรกอีกด้วย สำหนับซีพียู ที่ Intel ผลิตนั้นก็มีหลาย รุ่นออกมาให้เลือก และต่างมีเทคโนโลยีที่ต่างกัน
เลือกซื้อเมนบอร์ด
คนส่วนใหญ่ที่กำลังจะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์มักหาข้อมูลทำการบ้านแต่เฉพาะในส่วนหลักสองส่วนใหญ่ ก็คือ ซีพียู และ กราฟฟิคการ์ด ซึ่งก็จริงที่ทั้งสองส่วนนี้เป็นปัจจัยหลักที่ทำให้คนที่ได้ฟังสเปกสองตัวนี้ถึงกับร้องอู้หู้เมื่อได้ยินว่าเราใช้ Intel® Core i7 940 หรือ ได้ยินว่าเราใช้กราฟฟิคการ์ด NVIDIA Geforce295GTX เพราะทั้งสองส่วนนี้เป็นตัวที่ตอบสนองความแรงในการประมวลผลไม่ว่าด้านตัวเลข หรือ ภาพ 3D แต่เคยมีใครได้สังเกตไหมว่าจริงๆ แล้วเรายอมลดสเปกอุปกรณ์บางอย่างลงไปเพื่อให้ได้มาซึ่งซีพียูหรือกราฟฟิกการ์ดที่แรง แต่เรากลับไม่ได้สนใจว่าเมนบอร์ดที่เราซื้อเพื่อใช้กับซีพียูและกราฟฟิกการ์ดนี้ มีประสิทธิภาพที่จะดึงความสามารถของซีพียู กราฟฟิกการ์ด และ ทนทานต่อการใช้งานอย่างต่อเนื่องของเราเพียงใด เทคโนโลยีที่ใช้เป็นอย่างไร มีซอฟท์แวร์ที่มาพร้อมกับเมนบอร์ดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มความปลอดภัย และ ความสะดวกให้กับเราไหม เพราะตอนนี้ซอฟท์แวร์ที่มาพร้อมกับตัวเมนบอร์ดอาจจะเป็นตัวตัดสินที่ทำให้ผู้ใช้ตัดสินใจเลือกใช้เมนบอร์ดด้วยส่วนหนึง เกริ่นมาซะเยอะแล้ว วันนี้ผมจะใคร่ขออาสานำความรู้ดีๆ ในการตัดสินใจเลือกซื้อเมนบอร์ดคุณภาพครับ ตามมาเลยครับ …..
Main Board หรือ Motherboard คือ แผงวงจรหลักทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์ต่างๆ เพื่อทำให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทั้งหมดที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู หน่วยความจำ ฮาร์ดไดรฟ์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีรอมไดรฟ์ ที่ผ่านทางสายเคเบิลหรือแม้แต่การ์ดแสดงผล และการ์ดเสียงก็ล้วนแล้วแต่ต้องทำงานเข้ากันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีเสถียรภาพ
เลือกซื้อแรม
สำหรับแรมผมได้กล่าวไว้แล้วว่ามีหน้าอะไรบ้าง สำหรับแรมก็เป็นส่วนประกอบที่สำคัญเช่นกันเพราะฉะนั้นแล้วเราควรเลือกให้ถูกวิธีด้วย สำหรับขึ้นตอนการเลือกซื้อแรม มีขั้นตอนการเลือกซื้อดังต่อไปนี้
1.ประเภทของแรม
แน่นอนครับสำหรับประเภทของแรมนั้น ก็จะถูกจำกัดด้วยเมนบอร์ดที่เราจะเลือกซื้อเช่นกัน โดยเมนบอร์ดก็จะต้องถูกบังคับจากซิปเซต สำหรับคนที่จะซื้อในขนาดนี้จะมีอยู่ 2 ประเภทที่ผมจะแนะนำนะครับ ซึ่งทั้ง 2 มีความเร็วที่แต่ต่างกัน
1.1 DDR 2
สำหรับ DDR 2 นั้นมีความนิยมเป็นอย่างยิ่งในขนาดนี้ถือเป็นแรมตลาดเลยที่เดียว เพราะในปัจจุบันนี้เมนบอร์ดเองก็สามารถรองรับการทำงานของแรมชนิดนี้ได้หมดแล้ว แล้วราคาในขณะนี้ก็มีราคาที่ไม่แพงเลยเมื่อเทียบกับชนิดอื่นๆ และในเรื่องของความเร็วก็สามารถใช้ได้เร็วมากเลยที่เดียว มีความเร็วตั้งแต่ 400-1,066 MIz ใช้แรงดันไฟฟ้า 1.8 V
1.2 DDR3
เป็นแรมประเภทมี่พึ่งมาใหม่ล่าสุดเลย ซึ่งมีความเร็วสูงสุด ถึง 1,600-2,000 MHz เลยทีเดียวครับ แล้วใช้แรงดันไฟฟ้าแค่เพียง 1.5 V เท่านั้น ถือได้ว่ามีความเร็วสูงกว่าทุกประเภทแต่ปัจจุบันนี้ได้มี DDR4 มาแล้วเอาไว้คราวหน้าตอนที่มีคนใช้เยอะๆ จะมาเล่าให้ฟังนะครับ ส่วนราคาตอนนี้ยังสูงอยู่ แต่ถ้าใครต้องการซื้อหรือมีตังพอไม่ขัด ครับ เพราะว่ากำลังจะเป็นที่นิยมกันแล้ว แต่ต้องดูด้วยว่าเมนบอร์ดของเรานั้นรองรับหรือไม่ เพราะว่ายังมีเมนบอร์ดที่ยังไม่รองรับอีกเยอะครับ ที่สำคัญ DDR3กับ DDR2 ใช้สล็อตเดียวกันไม่ได้เพราะฉะนั้นแล้วไม่ต้องกลัวว่าจะใส่ผิด
1.ประเภทของแรม
แน่นอนครับสำหรับประเภทของแรมนั้น ก็จะถูกจำกัดด้วยเมนบอร์ดที่เราจะเลือกซื้อเช่นกัน โดยเมนบอร์ดก็จะต้องถูกบังคับจากซิปเซต สำหรับคนที่จะซื้อในขนาดนี้จะมีอยู่ 2 ประเภทที่ผมจะแนะนำนะครับ ซึ่งทั้ง 2 มีความเร็วที่แต่ต่างกัน
1.1 DDR 2
สำหรับ DDR 2 นั้นมีความนิยมเป็นอย่างยิ่งในขนาดนี้ถือเป็นแรมตลาดเลยที่เดียว เพราะในปัจจุบันนี้เมนบอร์ดเองก็สามารถรองรับการทำงานของแรมชนิดนี้ได้หมดแล้ว แล้วราคาในขณะนี้ก็มีราคาที่ไม่แพงเลยเมื่อเทียบกับชนิดอื่นๆ และในเรื่องของความเร็วก็สามารถใช้ได้เร็วมากเลยที่เดียว มีความเร็วตั้งแต่ 400-1,066 MIz ใช้แรงดันไฟฟ้า 1.8 V
1.2 DDR3
เป็นแรมประเภทมี่พึ่งมาใหม่ล่าสุดเลย ซึ่งมีความเร็วสูงสุด ถึง 1,600-2,000 MHz เลยทีเดียวครับ แล้วใช้แรงดันไฟฟ้าแค่เพียง 1.5 V เท่านั้น ถือได้ว่ามีความเร็วสูงกว่าทุกประเภทแต่ปัจจุบันนี้ได้มี DDR4 มาแล้วเอาไว้คราวหน้าตอนที่มีคนใช้เยอะๆ จะมาเล่าให้ฟังนะครับ ส่วนราคาตอนนี้ยังสูงอยู่ แต่ถ้าใครต้องการซื้อหรือมีตังพอไม่ขัด ครับ เพราะว่ากำลังจะเป็นที่นิยมกันแล้ว แต่ต้องดูด้วยว่าเมนบอร์ดของเรานั้นรองรับหรือไม่ เพราะว่ายังมีเมนบอร์ดที่ยังไม่รองรับอีกเยอะครับ ที่สำคัญ DDR3กับ DDR2 ใช้สล็อตเดียวกันไม่ได้เพราะฉะนั้นแล้วไม่ต้องกลัวว่าจะใส่ผิด
ลือกซื้อฮาร์ดดิสก์
สำหรับฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่มาก เพราะฉะนั้นแล้วจึงมีการเลือกซื้อให้เหาะสมกับความต้องการของเรา ในปัจจุบันฮาร์ดดิสก์ได้มีราคาต่อความจุถูกมาก และมีความเร็วที่แตกต่างกัน จะข้อแนะนำการเลือกซื้อดังต่อไปนี้
1.ประเภทของ ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ๆ กันอยู่ในปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ (สำหรับฮาร์ดดิสก์ที่เชื่อมต่อภายนอกจะขอกล่าวในลำดันถัดไป)
– แบบ IDE เป็นฮาร์ดดิสก์ ที่จะบอกว่ารุ่นเก่าแล้วก็ว่าได้ เพราะว่ามีรุ่นใหม่ที่เร็วกว่าประหยัดทั้งพื้นที่ประทั้งพลังงานได้ดีกว่า และเมื่อเปรียบเทียบแล้วจะราคาแพงกว่า SATA ด้วยซ้ำ
– แบบ SATA เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่เข้ามามนตอนนี้และได้มีความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะว่าในเมนบอร์ดรุ่นใหม่นั้นก็ลองรับได้หมดแล้ว และมีราคาที่ถูกกว่า ฮาร์ดดิสก์ แบบSATA
1.ประเภทของ ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ๆ กันอยู่ในปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ (สำหรับฮาร์ดดิสก์ที่เชื่อมต่อภายนอกจะขอกล่าวในลำดันถัดไป)
– แบบ IDE เป็นฮาร์ดดิสก์ ที่จะบอกว่ารุ่นเก่าแล้วก็ว่าได้ เพราะว่ามีรุ่นใหม่ที่เร็วกว่าประหยัดทั้งพื้นที่ประทั้งพลังงานได้ดีกว่า และเมื่อเปรียบเทียบแล้วจะราคาแพงกว่า SATA ด้วยซ้ำ
– แบบ SATA เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่เข้ามามนตอนนี้และได้มีความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะว่าในเมนบอร์ดรุ่นใหม่นั้นก็ลองรับได้หมดแล้ว และมีราคาที่ถูกกว่า ฮาร์ดดิสก์ แบบSATA
2.ขนาดของความจุ
ความจุของฮาร์ดดิสก์หรือพื้นจัดเก็บข้อมูล นั้นมีความสำคัญว่าเราจะใช้งานประเภทใดและต้อง เลือกความจุขนาดใดใครที่ชอบทำงานด้านมัลติมีเดียก็ต้องเลือกความจุมากๆ ปัจจุบันนี้มีความจุ ถึง 2 GB ไปแล้วซึ่งสามารถเก็บข้อมูลจนลืมไปเลยว่าซื้อมาตอนไหน ไม่รู้จักเต็มสักที แต่ก็ยังมีราคาที่สูงอยู่นั้นเอง
3.ความเร็วรอบ
ความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์นั้นย่อมมีผลโดยตรงต่อความเร็วของฮาร์ดดิสก์ คือถ้าฮาร์ดดิสก์มีความเร็วรอบสูงแล้ว ข้อมูลก็จะเคลื่อนมาถึงหัวอ่านได้อย่างรวดเร็วขึ้น ความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์นั้นมีหน่วยเป็น “รอบต่อนาที (rpm) ในปัจุจบันความเร็วรอบนั้น 5,400-7,200 rpm แล้ว และยังมีการพัฒนาความเร็วได้ถึง 10,000 rpm
4.บัฟเฟอร์ของ ฮาร์ดดิสก์
บัฟเฟอร์ก็คือหน่วยความจำแคชของฮาร์ดดิสก์นั้นเองครับ เป็นสิ่งหนึ่งที่บ่งบอกความเร็วและประสิทธิภาพของฮาร์ดดิสก์ ถ้าเกิดฮาร์ดดิสก์ไหนที่มีขนาดบัฟเฟอร์ขนาดใหญ่ก็จะช่วยให้ไม่ต้องเสียเวลาที่จะกลับไปนำข้อมูลนั้นมาใช้ซ้ำอีก โดยการทำงานนั้นจะทำงานรวมกับแรม แรมจะนำข้อมูลจากบัฟเฟอร์มาใช้โดยตรง ในปัจจุบันแล้วขนาดบัฟเฟอร์ ก็มีจำนวน 8-32 MB ไปแล้ว
5.ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล
ช่วงเวลาในการเข้าถึงข้อมูล (Seek Time) คือช่วงเวลาที่ตำแหน่องบนจานของฮาร์ดดิสก์นั้นหมุนมาพอดีกับตรงที่หัวอ่านพอดี ความเร็วนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์เอง ยิ่งมีความเร็วที่น้อยก็สามารถที่จะทำให้ฮาร์ดดิสก์นั้นอ่านเขียนได้เร็วขึ้น
ความจุของฮาร์ดดิสก์หรือพื้นจัดเก็บข้อมูล นั้นมีความสำคัญว่าเราจะใช้งานประเภทใดและต้อง เลือกความจุขนาดใดใครที่ชอบทำงานด้านมัลติมีเดียก็ต้องเลือกความจุมากๆ ปัจจุบันนี้มีความจุ ถึง 2 GB ไปแล้วซึ่งสามารถเก็บข้อมูลจนลืมไปเลยว่าซื้อมาตอนไหน ไม่รู้จักเต็มสักที แต่ก็ยังมีราคาที่สูงอยู่นั้นเอง
3.ความเร็วรอบ
ความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์นั้นย่อมมีผลโดยตรงต่อความเร็วของฮาร์ดดิสก์ คือถ้าฮาร์ดดิสก์มีความเร็วรอบสูงแล้ว ข้อมูลก็จะเคลื่อนมาถึงหัวอ่านได้อย่างรวดเร็วขึ้น ความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์นั้นมีหน่วยเป็น “รอบต่อนาที (rpm) ในปัจุจบันความเร็วรอบนั้น 5,400-7,200 rpm แล้ว และยังมีการพัฒนาความเร็วได้ถึง 10,000 rpm
4.บัฟเฟอร์ของ ฮาร์ดดิสก์
บัฟเฟอร์ก็คือหน่วยความจำแคชของฮาร์ดดิสก์นั้นเองครับ เป็นสิ่งหนึ่งที่บ่งบอกความเร็วและประสิทธิภาพของฮาร์ดดิสก์ ถ้าเกิดฮาร์ดดิสก์ไหนที่มีขนาดบัฟเฟอร์ขนาดใหญ่ก็จะช่วยให้ไม่ต้องเสียเวลาที่จะกลับไปนำข้อมูลนั้นมาใช้ซ้ำอีก โดยการทำงานนั้นจะทำงานรวมกับแรม แรมจะนำข้อมูลจากบัฟเฟอร์มาใช้โดยตรง ในปัจจุบันแล้วขนาดบัฟเฟอร์ ก็มีจำนวน 8-32 MB ไปแล้ว
5.ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล
ช่วงเวลาในการเข้าถึงข้อมูล (Seek Time) คือช่วงเวลาที่ตำแหน่องบนจานของฮาร์ดดิสก์นั้นหมุนมาพอดีกับตรงที่หัวอ่านพอดี ความเร็วนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์เอง ยิ่งมีความเร็วที่น้อยก็สามารถที่จะทำให้ฮาร์ดดิสก์นั้นอ่านเขียนได้เร็วขึ้น
เลือกซื้อการ์ดแสดงผล
1. ตรวจสอบชนิดการเชื่อมต่อการจอภาพที่คุณต้องการ รูปแบบการเชื่อมต่อที่เมนบอร์ดรองรับ หรือหากซื้อเมนบอร์ดแล้วให้พิจารณาว่าจะใช้การ์ดแสดงผลที่เชื่อมต่อในรูปแบบใด หรืออาจจะพิจารณาเลือกรูปแบบการเชื่อมต่อ จากนั้นจึงซื้อเมนบอร์ด และซีพียูก็ได้
2. ตรวจสอบการเข้ากันได้ของการ์ดแสดงผล โดยการ์ดแสดงผลจะมี AGP2x/4x/8x นอกจากนี้ยังมีแรงดันไฟที่ต่างกัน เช่น 3.3 โวลต์อีกด้วย
3. พิจารณาตั้งแต่ขั้นตอนการจัดสเปคคอมพิวเตอร์ ว่าจะใช้เมนบอร์ดที่รองรับการ์ดแสดงผลแบบใด แล้วจึงเลือกการ์ดแสดงผลที่ต้องการ หรือหากต้องการเชื่อมต่อการ์ดแสดงผลแบบคู่ก็ต้องเลือกตั้งแต่เมนบอร์ดเลยทีเดียว
4. ตรวจสอบให้ดีว่าโปรแกรมหรือเกมที่คุณใช้นั้น รองรับเทคโนโลยีใดบ้าง แล้วจึงเลือกให้เหมาะสมกับงานที่เราใช้จริง
2. ตรวจสอบการเข้ากันได้ของการ์ดแสดงผล โดยการ์ดแสดงผลจะมี AGP2x/4x/8x นอกจากนี้ยังมีแรงดันไฟที่ต่างกัน เช่น 3.3 โวลต์อีกด้วย
3. พิจารณาตั้งแต่ขั้นตอนการจัดสเปคคอมพิวเตอร์ ว่าจะใช้เมนบอร์ดที่รองรับการ์ดแสดงผลแบบใด แล้วจึงเลือกการ์ดแสดงผลที่ต้องการ หรือหากต้องการเชื่อมต่อการ์ดแสดงผลแบบคู่ก็ต้องเลือกตั้งแต่เมนบอร์ดเลยทีเดียว
4. ตรวจสอบให้ดีว่าโปรแกรมหรือเกมที่คุณใช้นั้น รองรับเทคโนโลยีใดบ้าง แล้วจึงเลือกให้เหมาะสมกับงานที่เราใช้จริง
คุณสมบัติต่าง ๆ ที่เราควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล
การ์ดแสดงผลในปัจจุบัน จะใช้มาตรฐาน PCI Express ส่วนรุ่นเก่าจะใช้มาตรฐาน AGP ซึ่งมีอยู่ 3มาตรฐานด้วยกัน คือ AGP 2X, AGP 4X, และ AGP 8x ซึ่งทำงานที่ความเร็ว 133 MHz, 266MHz และ 533 MHz ตามลำดับ เราจำเป็นต้องเลือกการ์ดที่สนับสนุนการทำงานร่วมกับเมนบอร์ดด้วย เพราะหากซื้อการ์ดที่ทำงานด้วยความเร็วสูงกว่า ก็ไม่สามารถทำ
งานได้เต็มประสิทธิภาพอยู่ดีนั่นเอง
งานได้เต็มประสิทธิภาพอยู่ดีนั่นเอง
เลือกซื้อจอแสดงผล
จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสงเป็นภาพบน จอภาพ แบ่งเป็น 3 ประเภท
1.จอภาพ CRT
คือ จอภาพที่รับสัญญาณภาพแบบอะนะล็อก พัฒนามาจากหลอดภาพโทรทัศน์ด้วยการใช้หลอดภาพในการแสดงผลเช่นเดียวกันคะ จอซีอาร์ที จะทำงานโดยอาศัยหลอดภาพที่สร้างภาพโดยการยิงลำแสงอิเล็กตรอนไปยังที่ผิวหน้าจอ ซึ่งมีสารประกอบของฟอสฟอรัสฉาบอยู่ที่ผิว เมื่อถูกแสงอิเล็กตรอนมากระทบ สารเหล่านี้เจะกิดการเรืองแสงขึ้นมา ทำให้เกิดเป็นภาพนั่นเอง
2. จอภาพ LCD
จอภาพ LCD คือ จอแสดงผลแบบ (Digital ) ที่ใช้วัตถุที่เป็นผลึกเหลว (liquid crystal) แทนการใช้หลอดภาพในจอซีอาร์ที และใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ในการผลิตแสงสว่าง จึงทำให้จอภาพแอลซีดีใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยกว่าจอแบบซีอาร์ทีประมาณหนึ่งในสามโดยภาพที่ปรากฏขึ้นเกิดจากแสงที่ถูกปล่อยออกมาจากหลอดไฟด้านหลังของจอภาพ (Black Light) ผ่านชั้นกรองแสง (Polarized filter) แล้ววิ่งไปยัง คริสตัลเหลวที่เรียงตัวด้วยกัน 3 เซลล์คือ แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีนํ้าเงิน กลายเป็นพิกเซล (Pixel) ที่สว่างสดใสเกิดขึ้น
3. จอภาพ LED
จอภาพ LED ใช้หลอดแอลอีดีมาเรียงกันบนพาแนลแล้วทำให้เกิดภาพด้วยการติด ดับของหลอดแอลอีดีซึ่งก็ได้ภาพที่ตาเรามองออกมา ซึ่งในเหล่านี้มันยังมีราคาสูงมากๆ
ความเหมาะสมกับการใช้งาน
1. งานเอกสาร หรือ ในสำนักงาน ควรเลือกจอภาพ ขนาด 17-19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา
2. งานกราฟฟิก ควรเลือกจอภาพ ขนาด 19-21 นิ้ว
3. งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ ควรเลือกจอภาพ ขนาดไม่ต่ำกว่า 24 นิ้ว
4. ใช้งานทั่วไป 14-15 นิ้ว
หลักการเลือกซื้อจอภาพคอมพิวเตอร์
1. ควรเลือกจอภาพขนาด 15 นิ้วขึ้นไปเป็นอย่างน้อย เพราะปัจจุบันจอภาพ 15 นิ้ว มีราคาสูงกว่าจอภาพขนาด 14 นิ้วเล็กน้อยเท่านั้น
2. ควรเลือกจอภาพที่มีค่าระยะด็อตพิชต์ต่ำๆ เพราะจะทำให้ภาพออกมาคมชัด
3. เลือกจอภาพที่สามารถเลือกความละเอียดได้หลายโหมด
4. ควรเลือกแบบจอแบน เพราะจอแบนจะมีคุณสมบัติในการหักเหของแสงสะท้อนที่ตกกระทบบนจอภาพออกไปในทิศทางที่หลบออกจากสายตาผู้ใช้
5. ตรวจดูปุ่มรับการควบคุมจอภาพต่างๆ ว่าสามารถปรับอะไรได้บ้าง ใช้งานง่ายและสะดวกหรือไม่
6. จอภาพที่นิยมใช้ ได้แก่ ADI, CTX, LG, MAG, Panasonic, Philips, SONY, Sumsung, Viewsonic เป็นต้น
การรับประกันและการบริการหลังการขาย
ก่อนที่จะตัดสินใจซื้อและจ่ายเงินนั้น ควรตรวจสอบดูให้ดีว่า printer ที่เราซื้อมานั้นมีการรับประกันหรือไม่อย่างไรบ้าง เพื่อจะได้ไม่ต้องมาเสียใจภายหลังหากเกิดปัญหาขึ้น หรือมีการบริการอื่นๆ อีกหรือไม่ เช่น จัดส่งฟรีถึงบ้าน, สามารถออกใบกำกับภาษีให้สำหรับลูกค้าที่เป็นองค์กรหรือบริษัทด้วย, มีช่องทางการติดต่อกรณีมีปัญหาที่สะดวกสบาย เช่น มี call center หรือมีอีเมล์สำหรับรับแจ้งปัญหาต่างๆ
ด้วยหลักการเลือกซื้อ printer ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ คงพอจะทำให้คุณผู้อ่าน สามารถซื้อ printer ที่คุ้มค่าและเหมาะสมได้มากที่สุด ในบทความต่อไป ผมจะขออธิบายรายละเอียดของ printer ชนิดต่างๆ
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ซีพียู
|
รุ่น Intel Core 2 Duo,
Intel Core 2 Quad, i7 หรือ AMD
Athlon 64×2
|
แรม
|
ชนิด DDR2-SDRAM ขนาด 2GB ขึ้นไป หรือใช้ขนาด 1GB จำนวน ๒ แถว เสียบลงในสล็อตแบบ Dual-channel
|
เมนบอร์ด
|
รองรับเทคโนโลยี Dual-channel ที่ช่วยเพิ่มแบนต์วิธของแรม
และเทคโนโลยี RAID มีสล็อตPCL Express ×16 ส่วนอุปกรณ์อื่นๆ อาจเลือกแบบ On Board เช่น
ชิปเสียง ชิปเน็ตเวิร์ก เป็นต้น
|
ฮาร์ดดิสก์
|
อินเทอร์เฟส Serial
ATA-II ขนาดบรรจุ 350
GB ขึ้นไป
|
การ์ดจอ/การ์ดแสดงผล
|
ควรเลือกการ์ดแสดงผลมาตรฐาน PCI Express ที่มีขนาดหน่วยความจำบนการ์ด 512MB ขึ้นไป ชิปแสดงผลที่ควรเลือกnVidia
GeForce FX 8600หรือ 9600ขึ้นไป หรือ ATi
Radeon HD340ขึ้นไป
|
การ์ดเสียง
|
ใช้เป็นแบบ On Board
|
การ์ดเครือข่าย/การ์ดแลน
|
ใช้เป็นแบบ On Board ที่สนับสนุนอัตราความเร็วคงที่
10/100 Mbps หรือ อาจสูงถึง 1 Gbpsก็ได้ถ้ามีเครือข่ายรองรับ
|
Optical
Storage
|
ไดว์ฟDVD-RW ซึ่งสามารถอ่านและเขียนแผ่นได้เกือบทุกประเภท
|
จอแสดงผล
|
ขนาดจอภาพแสดงผลควรเลือกขนาด
๒๒ นิ้ว
|
เครื่องสำรองไฟฟ้า
|
ควรสำรองไฟฟ้าได้ตั้งแต่
๕๐๐ โวลต์แอมป์ (VA) ขึ้นไป
|
ในด้านของฮาร์ดแวร์ที่จัดมานั้น เน้นในเรื่องของความแรงที่สอดคล้องกัน แม้ว่าซีพียูจะเป็นปัจจัยสำคัญ โดยวาง Intel Core i5 เป็นหัวใจหลักในการทำงาน แต่ในความแรงแบบจัดจ้านในแบบ 4-Cores/ 4-Threads ในซีรีส์ Gen.4 (Haswell) มาให้ก็ตาม แต่ก็เสริมความแรงด้วยแรมความจุ 16GB แต่เป็นความเร็ว DDR3 1866MHz มาเสริมช่องทางสำหรับข้อมูลขนาดใหญ่ได้ดี อีกทั้งเมนบอร์ดที่เลือกไว้ ก็รองรับการอัพเกรดได้สบาย ไม่ว่าจะเป็น ฮาร์ดดิสก์ กราฟิกการ์ดหรือแรมก็ตาม เมื่อประสานร่วมกับ SSD 120GB จาก Samsung 840 Evo ที่ใช้ร่วมกับการติดตั้งโปรแกรมทำงานบางส่วน ก็ช่วยให้การเปิดไฟล์หรือการเรนเดอร์ภาพกราฟิกได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี WD Black series อีก 1TB มาช่วยในกรณีที่ต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ในการเก็บผลงาน แม้ว่าจะไม่ได้ใส่กราฟิกการ์ดที่เป็นแบบ Cutting-edge เฉพาะในงานกราฟิกก็ตาม แต่ในหลายๆ ส่วนก็เอื้อประโยชน์ให้กับงานกราฟิกแต่ละประเภทได้ดี โดยเฉพาะในเรื่องของการโหลดไฟล์ การประมวลผลและการเข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ว
เป็นสเปกคอมพ์อีกชุดหนึ่ง ซึ่งออกมาเป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้ที่กำลังมองหาทางออกในการทำงานบนซอฟต์แวร์กราฟิก ซึ่งเป็นการใช้งานภายในบ้านหรือสำนักงานขนาดเล็กที่ราคาไม่สูงเกินไปนัก ที่สำคัญหลายๆ ส่วนก็น่าจะตอบโจทย์ร่วมกับซอฟต์แวร์เฉพาะทางได้ดีทีเดียว
ถ้าทำงานกราฟิกด้วยเล่นเกมดเวยแนะนำให้ซื้อ
อุปกรณ์
|
ราคา
|
Aerocool
QS-200 Lite USB3.0
|
1200
|
XFX 550W.
|
1900
|
DVD
LG 24X
|
510
|
GTX660
Gigabyte OC 2GB
|
7700
|
Western
1TB black
|
2710
|
Corsair
Vengeance 8GB(4GB*2)
|
2790
|
Gigabyte
H77M-D3H
|
2450
|
Core
i5 3570
|
6300
|
รวม 24780
ทำงานกราฟิกแต่ไม่เล่นเกมเลย
อุปกรณ์
|
ราคา
|
Core i7 3770
|
9130
|
Gigabyte H77M-D3H
|
2450
|
Kingston HyperX 8GB(4GB*2)
|
1890
|
Western 1TB black
|
2720
|
Quadro 410
|
4800
|
DVD LG 24X
|
510
|
XFX 550W.
|
1900
|
รวม 24600
คำแนะนำ
1.ใช้ Intel ดีกว่า AMD ในงานพวกนี้ เพราะ Intel แรงกว่า
2.RAM 16GB เพิ่มอีกประมาณ 1000 บาท Geil Dragon RAM 8GB*2=3000
3.ไม่เล่นเกมเลยใช้ Quadro หรือ Firepro ดีกว่าพวก Geforce กับ Radeon
4.ถ้าจะเพิ่ม SSD ลด HDD เป็น blueก็พอครับ
5.เคส ควรมี USB3.0 เพื่อความรวดเร็วในการส่งข้อมูล (แต่ต้องมี USB2.0 )
2.RAM 16GB เพิ่มอีกประมาณ 1000 บาท Geil Dragon RAM 8GB*2=3000
3.ไม่เล่นเกมเลยใช้ Quadro หรือ Firepro ดีกว่าพวก Geforce กับ Radeon
4.ถ้าจะเพิ่ม SSD ลด HDD เป็น blueก็พอครับ
5.เคส ควรมี USB3.0 เพื่อความรวดเร็วในการส่งข้อมูล (แต่ต้องมี USB2.0 )